เงินเฟ้อบวกต่อเนื่อง 3 เดือน - ยอดนักท่องเที่ยวเข้าไทยยังขยายตัว
ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย เปิดเผยภาวะเศรษฐกิจไทยในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา
- เงินเฟ้อเดือน มิ.ย.67 เพิ่มขึ้น 0.629 บวกต่อเนื่อง 3 เตือนติต
- นักท่องเที่ยวต่างชาติขยายตัวต่อเนื่อง เดือนมิ.ย. เติมทางเที่ยวไทย 2.74 ล้านคน ขยายตัว 8.1% YOY
- ดัชนีเชื่อมั่นเอสเอ็มอีวูบ
- ยอดใช้น้ำมัน 5 เดือนแรกปี 67 วูบ 0.49 สวนทางดีเซล-น้ำมันอากาศยาน-LPG เพิ่ม
- ค่าเงินบาทในสัปตาห์ที่ผ่านมาปิตที่ 36.58 บาทต่อดอลคาร์สหรัฐ เข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราดาปิตเมื่อสัปดาห์ก่อนหน้า
สำนักงานนโยบายและยุทธศาสตร์การค้า (สนค.) เผยดัชนีราคาผู้บริโภค หรืออัตราเงินเฟ้อทั่วไปเดือนมี.ย. 67 เท่ากับ 108.50
เพิ่มขึ้น 0.62% เป็นบวกต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 3 แต่สูงขึ้นในอัตราที่ชะลอตัวลง โตยมีปัจจัยสำคัญมาจากผลกระทบจากฐานต่ำของค่ากระแสไฟฟ้าในเดือนก่อนหน้าสิ้นสุดลง ประกอบกับราคาสินค้ากลุ่มอาหารสดสูงขึ้นในอัตราชะลอตัว เนื่องจากสภาพอากาศเอื้ออำนวยต่อการเพาะปลูกหลังจากสิ้นสุดช่วงสภาพอากาศร้อนจัด โดยเงินเฟ้อที่สูงขึ้น 0.629 มาจากหมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์สูงขึ้น 0.49% หมวดอื่นๆ ที่ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่มสูงขึ้น 0.71%
กองศรษฐกิจการท่องเที่ยว เผยจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้าไทยช่วงเดือนมิ.ย. จำนวน 2.74 ถ้านคนขยายตัว 8.1% YOY ส่งผลให้มีจำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติรวมตั้งแต่ 1 ม. - 30 มิ.ย. 17.5 ล้านคน ขยายตัว 35.0% YOY โดยจีนเข้ามาสูงสุด 3.44 ล้านคน มาเลเซีย 2.40 ล้านคน อินเดีย 1.04 ล้านคน เกาหลีใต้ 0.93 ล้านคน และรัสเชีย 0.92 ล้านคน ตามลำตับ ซึ่งปัจจัยบวกในช่วงเตือนมิ.ย. คือ เริ่มเข้าสู่ฤดูกาลท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรป การจัดงาน Pide montih 2024 และการฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวทั้งระยะใกล้และระยะไกล ประกอบกับความเชื่อมั่นในการเดินทางจากมาตรการยกเว้นวีซ่า
ธนาคารพัฒนาวิสาทกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย เผยดัชนีความเชื่อมั่นของผู้ประกอบการเอสเอ็มอีต่อเศรษฐกิจและธุรกิจ ไตรมาส 2 ปี 67 พบว่า ดัชนีลดลงอยู่ที่ระดับ 52.06 ลดลงเล็กน้อยจากไตรมาสที่ 1 ที่อยู่ระดับ 52.36 เนื่องจากผู้ประกอบการเอสเอ็มอีมีความกังวลที่จะเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะด้านต้นทุนการประกอบการและปริมาณสินค้าคงคลัง ทั้งนี้ ปัจจัยกดดันสำคัญ ไต้แก่ ด้านต้นทุนการประกอบการที่เพิ่มสูงขึ้น ภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวทั้งเศรษฐกิจในประเทศและเศรษฐกิจโลก มาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจของภาครัฐยังขาดความชัดเจน กำลังซื้อของลูกค้าที่ลดลง และประเด็นอื่น ๆ เช่น ขาดสภาพคล่องในการดำเนินธุรกิจ เป็นต้น
อธิบดีกรมธุรกิจพลังงาน เปิดเผยภาพรวมการใช้น้ำมันเชื่อเพลิงเฉลี่ยเดือนม.ค. -พ.ค. 2567 อยู่ที่ 157.13 ล้านลิตร/วัน ลดลง 0.496 YOY กลุ่มเบนชิน เฉลี่ยอยู่ที่ 31.59 ล้านสิตร/วัน ลดลง 1.000 YOY กลุ่มตีเซล เสฉลี่ยอยู่ที่ 69.30 ล้านลิตร/วัน เพิ่มขึ้น 3.2% YOYน้ำมันอากาศยานเชิงพาณิชย์ (Jet A1) เฉลี่ยอยู่ที่ 16.08 ล้านลิตร/วัน เพิ่มขึ้น 17.9% VOY การใช้ LPG เฉลี่ยอยู่ที่ 18.01 ล้านก.ก./วัน เพิ่มขึ้น 3.8% YOY การใช้ NGV เฉลี่ยอยู่ที่ 2.91 ล้านก.ก./วัน ]fลง 16.6% YOY
ค่าเงินบาทในสัปดาห์ที่ผ่านมาปิดที่ 36.58 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ แข็งค่าขึ้นเมื่อเทียบกับราคาปิดเมื่อวันศุกร์ที่ 28 มิ.ย. 67 ที่ผ่านมาที่อยู่ที่ระดับ 36.78 บาท/ดอลลาร์สหรัฐ โดยในรอบสัปตาห์นี้เงินบาทเคลื่อนไหวตามทิศศทางตลาดโลกที่ดอลลาร์ปรับตัวอ่อนค่าเมื่อเทียบสกุลเงินหลักยกเว้นเงินเยน และบอนต์ยีลด์ปรับตัวลดลง หลังตัวเลขเศรษฐกิจของสหรัฐฯ ที่ประกาคออกมาเมื่อคืนนี้แย่ลงทุกรายการ ทั้งตัวเลขการจ้างงานของภาคเอกชน ยอดขอรับสวัสติการว่างงานประจำสัปดาห์ ตัชนี ISM ภาคบริการ ทำให้ตลาดคาดการณ์ว่าธนาคารกลางสหรัฐฯ (เฟด) มีแนวโน้มที่จะพิจารณาปรับลดอัตราดอกเบี้ยในช่วงไตรมาส 3/67 ช่วงวันที่ 1 - 5 กรกฎงคม 2567
ภาวะเศรษฐกิจโลกในรอบสัปตาห์ที่ผ่านมา
ประเทศสหรัฐฯ: ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อ (PM) ภาคการผลิตขั้นสุดท้ายเดือนมิ.ย. เพิ่มขึ้นสู่ระดับ 51.6, ตัชนี PM ภาคบริการขั้นสุดท้ายเดือนมิ.ย. เพิ่มขึ้นสู่ระดับ 55.3, ตัวเลขขาดดุลการค้าเดือนมิ.ย. เพิ่มขึ้น 0.89, นำเข้าเตือนพ.ค. ]fลง 0.36 ,ส่งออกเดือนพ.ค. สตลง 0.7%
สนภาพยุโรป : ดัชนี PM ภาคการผลิตขั้นสุดท้ายเดือนมิ.ย.ลดลงสู่ระดับ 458, ดัชชนี PM ภาคบริการขั้นสุดท้ายเดือนมิ.ย. ลคลงสู่ระดับ 52.8, อัตราการว่างงานเดือนพค. คงตัวอยู่ที่ 6.4%
ประเทศจีน : ดัชนี PM ภาคการผลิตเดือนมิ.ย. เพิ่มขึ้นสู่ระดับ 518, ดัชนี PM ภาคบริการเดือนมิ.ย, ลดลงสู่ระดับ 51.2
ประเทศญี่ปุ่น : ดัชนี PW ภาคการผลิตสุดท้ายเดือนมิ.ย. ลดลมาอยู่ที่ระดับ 50.0, ดัชนีPM ภาคบริการขั้นสุดท้ายเตือนมิ.ย. ลดลงมาอยู่ที่ระดับ 494, ความเชื่อมั่นผู้บริโภคเพิ่มขึ้น 0.2 จุด
ราคาน้ำมันติบในสัปดาห์ที่ผ่านมาปรับตัวเพิ่มขึ้นประมาณ 1.98% เมื่อเทียนกับสัปดาห์ก่อน
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ ศูนย์พยากรณ์เศรษฐกิจและธุรกิจ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย : https://www.facebook.com/photo/?fbid=1012058577287002&set=pcb.1012058687286991